แค่ไหนถึงเป็น Opensource ในวงการ Tech IT น่าจะพอใจ และ Marco Lang นาฬิกาที่ Opensource กลไกของตนเองทั้งหมด

คำว่า Opensource เป็นคำที่ฟังแล้ว คุ้นหูชาว IT เป็นอย่างดี เพราะคำนี้มักจะเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้เทคนิค, องค์ความรู้ในด้านนั้นๆสำหรับใครหลายๆคนให้พยายามที่จะเข้าถึงกับทุกๆคนไม่ว่าเพื่อนจะมีต้นทุนมากหรือน้อยก็ตาม แต่ถ้าหากเราลองเปรียบเทียบกับวงการอื่นที่อาจจะเป็นวงการศิลปะ หรือจะบอกว่าเป็นศาสตร์ของศิลป์ที่ต้องผสมองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมเข้าไปด้วยอย่าง “นาฬิกาแบบกลไก” และเป็นนาฬิกาที่ “Opensource” เปิดให้คนอื่นสามารถเข้าถึงกลไกการออกแบบได้ทั้งหมด

แค่ไหนถึงเป็น Opensource ในวงการ Tech IT น่าจะพอใจ และ Marco Lang นาฬิกาที่ Opensource…
แค่ไหนถึงเป็น Opensource ในวงการ Tech IT น่าจะพอใจ และ Marco Lang นาฬิกาที่ Opensource…

พื้นฐานการแนวคิด In-Memory Computing และ Real Time Data Processing ด้วย Hazelcast Part 1

ในปัจจุบันเราจะพบว่าเรามีเทคนิคและคำศัพท์ใหม่ๆเกี่ยวกับวงการ IT หลายๆอย่างมากมายทั้งในแง่ของการจัดการหรือจะเชิงของเทคนิคเช่น Framework/ Ideaในการทำงานแบบใหม่ๆมีความร่วมมือกันมากขึ้นอย่าง DevOps หรือจะเทคโนโลยีเฉพาะทางใหม่ๆอย่าง Blockchain ซึ่งปัจจุบันก็ต่อยอดไปถึง Web3 กันได้แล้ว แต่สิ่งนึงที่จะไม่เคยหายไปเลยนั่นก็คือเรื่องของข้อมูลที่เมื่อเกิดขึ้นมาแล้วก็มักจะอยู่กับเราไปตลอด (ถ้าหากเป็นข้อมูลที่จำเป็นต้องเก็บ) ซึ่งจุดที่น่าสนใจก็คือเทคนิคของการแตกย่อย Service หรือจะออกแบบยังไงให้ระบบกระจายกันไปเพื่อได้คุณสมบัติ Scale Out ก็ก็ยังคงเรื่องของความเร็วในการประมวลผลให้ผู้ใช้ปลายทางไม่รู้สึกว่าข้างหลังมีอะไรเปลี่ยนไปอย่างไร หรือมีอะไรช้าไหม สนใจแค่ว่าใช้งานปุ๊ปทุกอย่างเป็นปกติไม่เกิด Delay เกิดกว่าที่ SLA ที่ตกลงไว้ก็พอ ซึ่งเมื่อพูดถึงเรื่องของข้อมูลที่เกิดขึ้น “Data” ของเรานั้นอาจจะแบ่งประเภทเป็น Data at Rest และ Data in Motion…

พื้นฐานการแนวคิด In-Memory Computing และ Real Time Data Processing ด้วย Hazelcast Part 1
พื้นฐานการแนวคิด In-Memory Computing และ Real Time Data Processing ด้วย Hazelcast Part 1

ตรวจสอบความพร้อมของ Java Application ในการขึ้น Cloud ด้วย Migration Toolkit ผ่านแนวคิด 12 Factor Principal

ในปัจจุบันแนวคิดการพัฒนาแอพพลิเคชันด้วย 12 Factor ถือได้ว่าเป็น Check List หลักๆที่นำมาใช้กันเพื่อให้เราได้แอพพลิเคชันที่มีความพร้อมในการไป Deploy บน Cloud ได้อย่างมั่นใจมากขึ้นว่าโปรแกรมที่เราออกแบบมานั้นจะเกิดปัญหาน้อยลงที่สุดเวลานำโปรแกรมไปรันที่อื่นนอกจาเครื่องของ Developer เอง โดยเฉพาะใน Cloud Environment ที่มีทั้งการ Scale เพื่อขยายเครื่องและลดเครื่องเมื่อไม่ได้ใช้งาน ซึ่งแน่นอนว่าจริงๆแล้วถ้าเรามองว่า Cloud นั้นคือการไป Hosting เพื่อวางแอพพลิเคชันเฉยๆจบในเครื่องเดียวโดยที่เราไม่ต้องดูแล Infrastructure อะไรเองทั้งหมดเลย แต่เราเพียงแค่นำไปวางแปะแล้วก็จบ Architecture ไม่ได้มีการเชื่อมต่ออะไรที่ซับซ้อน ก็ดูเหมือนว่าเราจะไม่ค่อยต้องแก้ Application เท่าไหร่นัก…

ตรวจสอบความพร้อมของ Java Application ในการขึ้น Cloud ด้วย Migration Toolkit ผ่านแนวคิด 12 Factor…
ตรวจสอบความพร้อมของ Java Application ในการขึ้น Cloud ด้วย Migration Toolkit ผ่านแนวคิด 12 Factor…

ตรวจจับช่องโหว่ Log4Shell ของ Container Application และวิธีการใช้ Red Hat Advanced Cluster Security

GitHub - wdrdres3qew5ts21/redhat-advance-cluster-security-guide: วิธีการใช้งาน Advance Cluster… ปัจจุบันการ Deploy Application ในรูปแบบของ Container นั้นเป็นรูปแบบทีไ่ด้รับความนิยมสำหรับ Project…github.com ปัจจุบันการ Deploy Application ในรูปแบบของ Container นั้นเป็นรูปแบบทีไ่ด้รับความนิยมสำหรับ Project ที่ต้องการคุณสมบัติการ Scale ที่ยืดหยุ่นสามารถ Deploy ได้ง่ายไม่ยึดติดกับ Host หรือ Virtual Machine ที่ทำงานอยู่ ซึ่งด้วยความสะดวกของการ Scale Application ในรูปแบบของ Container ก็ทำให้เรามี Application ที่ถูก Scale Out ออกไปหลายๆแอพและไม่จำเป็นต้องอยู่ในเครื่องเดียวกันก็ได้ แต่กระนั้นเองก็อาจจะเป็นการเพิ่ม Attack Surface ได้เช่นเดียวกันเพราะ Application ไมไ่ด้อยู่แค่ที่ Host Machine เครื่องเดียวอีกต่อไป ซึ่งถ้าหาก Application ที่เรา Deploy ไปนั้นมีช่องโหว่ Vulnerability ในหลายๆที่หลายเครื่อง Machine ตามไปด้วย แต่ไม่ใช่หมายความว่าการ Scale Out Application…

ตรวจจับช่องโหว่ Log4Shell ของ Container Application และวิธีการใช้ Red Hat Advanced Cluster Security
ตรวจจับช่องโหว่ Log4Shell ของ Container Application และวิธีการใช้ Red Hat Advanced Cluster Security

การใช้ Azure DevOps เพื่อเพิ่ม Collaboration และ Agility ในทีมพัฒนา

สำหรับการพัฒนาโปรเจคซอฟท์แวร์การจัดการเวลา, คุณภาพ, ต้นทุน ถือเป็นเรื่องที่เรามักจะต้องวนเวียนและคำนึงถึงเสมอ ซึ่งปัจจัยที่ผมคิดว่าทำให้ทีมของเราสามารถดำเนิน Project ไปได้ด้วยดีและสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันนั่นก็คือการที่ทั้ง Stakeholder ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและทีมพัฒนาเองนั้นสามารถเห็นภาพต้อง ตรงกันได้เป็นภาพเดียวกันว่า ณ ปัจจุบันเรามีความคืบหน้าไปถึงไหนและติดปัญหาใดบ้าง ? การที่เราจะรู้ข้อมูลเรานั้นได้เราก็ควรจะมีตัวชี้วัดหรือคอยติดตามอย่างต่อเนื่องซึ่งถ้าพูดถึงใน DevOps Process ก็จะเป็นเรื่องของ Continuous Improvement ที่จะพูดถึงเรื่องของตัวชี้วัดว่าที่ใช้ในการตรวจสอบว่าเราไปถึงเป้าหมายหรือยังแล้วก็มี Safety Zone สำหรับการรับ Feedback เพื่อให้คนฟังไม่รู้สึกว่าตัวชี้วัดคือการจับผิดแต่มันคือการที่ทำให้เรามีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาให้พวกเราดีขึ้นกับทุกคนอันนำไปสู่การ Improvement ได้อย่างยั่งยืน…

การใช้ Azure DevOps เพื่อเพิ่ม Collaboration และ Agility ในทีมพัฒนา
การใช้ Azure DevOps เพื่อเพิ่ม Collaboration และ Agility ในทีมพัฒนา
Supakorn Trakulmaiphol

Certified Kubernetes Administrator |ชอบวัฒนธรรมคุณค่าประเพณีจีน บางครั้งก็เขียนโปรแกรม ว่างๆก็อ่านนิยายกำลังภายในจีนโก้วเล้งจะชอบเป็นพิเศษ เล่นเกมก็ต้อง C-RPG